เป็นอีกหนึ่งเรื่องราวที่ชาวโซลเชียลและคนทั้งประเทศ ต่าง ต ิดตาม และต้องบอกว่า อะไรกันละเนี้ยะ ล่าสุด เมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2563 จากการติดตามบรรยากาศการเก็บเกี่ยวข้าวเปลือกนาปี ของชาวนา ใน จ.กาฬสินธุ์ ที่เข้าสู่ฤดูกาลเก็บเกี่ยว และนำผลผลิตเมล็ดข้าวเปลือกไปข าย ตามลานรับซื้ อใกล้บ้าน พบว่าต่างประสบปัญห าเดียวกันคือ ค่าแรงเก็บเกี่ยว ค่าขนส่ง สูงขึ้น ขณะที่ราคาข ายข้าวเปลือกตกต่ำอย่างมากกว่าปีที่ผ่านมา ทำให้ชาวนาประสบปัญหาขาดทุน นายปี วรรณศรี อายุ 68 ปี ชาวนาบ้านนาเชือก ต.นาเชือก อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ กล่าวว่า การเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวนาปี ของตนและชาวนาปีนี้ แทนที่จะดีอกดีใจ ที่จะได้ข ายข้าว นำรายได้มาใช้หนี้ค่าปุ๋ยเคมี
และเหลือใช้หนี้ ธ.ก.ส. และเป็นค่าใช้จ่ายต่างๆในครัวเรือน เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าขนมลูกหลานไปโรงเรียน แต่กลับรู้สึกเจ็บปวดใจ อาการไม่ต่างกับน้ำตาตกใน เพราะนำข้าวไปข ายแล้วเหมือนไม่ได้เงิน เนื่องจากแหล่งรับซื้อให้ราคาต่ำเพียง ก.ก.ละ 6-7 บาท เท่านั้น ขณะปีที่ผ่านมาได้ถึง ก.ก.ละประมาณ 10 บาท พอหักค่าใช้จ่ายหลายๆอย่าง ทั้งค่ารถไถ ค่ารถเกี่ยว ค่าขนส่งแล้ว ขาดทุนยับเยิน ทั้งนี้ หากข ายข้าวได้ในราคา ก.ก.ละ 9-10 บาท เมื่อนำมาหักลบกล บหนี้กับต้นทุนแล้ว ก็พอจะมีกำไรบ้าง
นายปี กล่าวอีกว่า หากเทียบส่วนต่างระหว่างรายได้กับต้นทุนการผลิตต่อไร่แล้ว แตกต่างกันมาก โดยเฉลี่ยผลผลิตข้าวเปลือกได้ไร่ละประมาณ 300-400 ก.ก.ขาย ก.ก.ละ 6-7 บาท ได้ประมาณ 1,800-2,400 บาท หรือไม่เกิน 2,100-2,800 บาท ขณะที่รายจ่ายค่าเมล็ดพันธุ์ 400 บาท ค่าปุ๋ย 600 บาท ค่ารถไถ 600 บาท ค่ารถเกี่ยว 800 บาท ค่าขนส่ง 500 บาท รวมประมาณ 2,900 บาท
ซึ่งยังไม่รวมค่าสารกำจัดวัชพืช ค่าแรงและค่าสูบน้ำ สรุปคือข ายข้าวข าดทุน ทุกวันนี้ชาวนาที่นำข้าวไปขายแล้ว ได้แต่พากันนั่งปรับทุกข์ เพราะขายข้าวไม่ได้เงิน ส่วนคนที่ได้เงินคือเจ้าของรถเกี่ยวข้าว รถขนส่งข้าว และร้านขายปุ๋ยเคมีอย่างไรก็ตาม อยากเรียกร้องรั ฐบาลช่วยประกันราคาข้าวให้ชาวนาด้วย เพราะสิ่งที่ชาวนาได้รับจากการขายข้าวคือข าดทุน ไม่มีเงินใช้หนี้ จึงตกอยู่ในสภาพนี้ไปตามๆกัน บอกเลยว่าน้ำตานองอาบสองแก้มแบบนี้ ไม่ดีเลย